ไอเดียการสร้างบ้านและออกแบบให้มี “คอร์ตยาร์ด” COURTYARD

ไอเดียการสร้างบ้านและออกแบบให้มี “คอร์ตยาร์ด” COURTYARD

ไอเดียการสร้างบ้านและออกแบบให้มี “คอร์ตยาร์ด” COURTYARD การเลือกออกแบบบ้านก่อนที่จะทำการสร้าง มักจะใช้ระยะเวลานานมากเป็นพิเศษ เพราะเนื่องจากการสร้าง
บ้านเราจะต้องมีการวิเคราะห์มาเป็นอย่างดี ว่าบ้านสไตล์ไหนที่เหมาะสมกับคุณ และวันนี้เราก็จะมีแนวทางการออกแบบบ้านในรูปแบบของการทำคอร์ตยาร์ดมาฝาก รับรองเลยว่าคุณที่ชื่นชอบธรรมชาติ หรือต้องการปลูกต้นไม้และมีสวนภายในบ้านจะต้องชื่นชอบพื้นที่ตรงนี้อย่างแน่นอน เรามาทำความรู้จักกับคอร์ตยาร์ดกันได้เลย

บ้านที่มี COURTYARD เป็นอย่างไร

“COURTYARD” คือ บ้านที่มีสวนหรือต้นไม้อยู่กลางบ้าน ซึ่งพื้นที่นั้นจะเป็นพื้นที่เปิดให้แสงแดดเข้ามา แน่นอนเลยว่าฝนหรือน้ำฝน ก็จะสามารถเข้าถึงแหล่งธรรมชาติที่เราได้สร้างขึ้นเช่นกัน จึงทำให้ผู้ที่จะต้องการสร้างบ้านในลักษณะนี้ จะต้องมีการออกแบบและคำนวณทิศทางของแสงและลม หรือธรรมชาติรอบนอกมาแล้วเป็นอย่างดี จึงทำให้คุณจะต้องศึกษาหลายๆแนวคิดว่า เมื่อตัดสินใจที่จะสร้างบ้าน สไตล์โมเดิร์น ที่มีคอร์ตยาร์ดแล้ว รีวิวบ้านสไตล์โมเดิร์น กลางป่า – Valentine House จะต้องเตรียมอุปกรณ์หรือความพร้อมในรูปแบบไหนกันบ้าง ก่อนอื่นเราจะต้องเข้ามาทำความเข้าใจกันก่อนว่าลักษณะของ คอร์ตยาร์ด ที่แท้จริงจะต้องเป็นแบบไหน

การทำที่ว่างคอร์ตยาร์ดต่างกับที่ว่างรอบบ้านอย่างไร

  1. ถึงแม้พื้นที่ของทั้งสองรูปแบบจะเหมือนกัน ซึ่งจะใช้ลักษณะเป็นพื้นที่ธรรมชาติ แต่ความยากง่ายหรือการทำกิจกรรมของพื้นที่จะต่างกันโดยสิ้นเชิง 
  2. มุมมองจะไม่เหมือนกัน คอร์ดหยาดจะเป็นพื้นที่ที่มองแล้วจะไม่สามารถทำเป็นพื้นที่ธรรมชาติได้ แต่พื้นที่รอบบ้าน จะสามารถทำกิจกรรมหรือถูกสิ่งต่างๆได้อย่างไม่มีข้อจำกัด 
  3. คอร์ตยาร์ด สามารถเป็นพื้นที่จำกัด โดยเฉพาะความกว้าง จะมีพื้นที่อาคารโดยรอบ 
  4. มีระบบในการวางผังที่แตกต่างกัน ซึ่งความยากของคอร์ตยาร์ดคือการรองรับและสามารถแก้ปัญหาธรรมชาติได้เช่น น้ำฝน แสงแดด และลม 
  5. จะสามารถวางผังไว้กี่ที่ก็ได้ในบ้าน ซึ่งขึ้นอยู่กับลักษณะของตัวบ้าน ว่าจะจัดผังให้อยู่ในรูปแบบใด

รูปแบบต่างๆของ คอร์ตยาร์ด

  1. คอร์ตยาร์ดในอาคาร (Inner Courtyard) เป็นการจัดวางอาคารให้มีพื้นที่ว่าบริเวณตรงกลางของอาคาร ตึกอาคารอาจจะมีลักษณะหลากหลายรูปแบบ แต่เมื่อประกอบกันเหมือนบล็อก ก็จะทำให้เกิดพื้นที่ตรงกลาง ซึ่งคนสามารถนำมาใช้สร้างคอร์ตยาร์ดในลักษณะนี้ได้ แต่จะต้องมีการวิเคราะห์และคำนวณตั้งแต่แรก เพราะมุมมองจะแตกต่างกันออกไป 
  2. คอร์ตยาร์ดนอกอาคาร (Outdoor Courtyard) เป็นการวางตำแหน่งอาคารที่แตกต่างจากคอร์ตยาร์ดในอาคาร ซึ่งผู้สร้างจะต้องมีการคำนวณมาแล้วเป็นอย่างดี โดยเฉพาะการวางตำแหน่งของอาคารให้มีความสมมาตร ซึ่งถึงแม้จะไม่มีความสมมาตรก็ตาม ผู้สร้างจะต้องทำพื้นที่สำหรับการปลูกพืชให้มีความสมดุลให้ได้ เพื่อให้เกิดความสมมาตรในลักษณะศิลปะได้นั่นเอง ข้อดีของอาคารที่ไม่สมมาตรนี้ จะมีมุมมองหลากหลายมุมมองขึ้น จะทำให้สวยงามตามที่คุณต้องการได้นั่นเอง เพราะฉะนั้น ผู้สร้างจะต้องศึกษามาแล้วเป็นอย่างดี ว่าชื่นชอบคอร์ตยาร์ด ในลักษณะไหนมากกว่า

ลักษณะมุมมองของคอร์ตยาร์ดที่นิยมสร้างกัน 

  1. คอร์ตยาร์ดที่มองด้านเดียว จะอยู่ในลักษณะการเปิดพื้นที่บริเวณส่วนหน้าของบ้าน และมีวัสดุก่อสร้างล้อมรอบ ไม่ว่าจะเป็นตัวอาคารหรือกำแพงก็ตาม คอร์ตในลักษณะนี้ จะมีการวางผังที่ง่ายมาก แต่เมื่อคุณสร้างบ้าน 2 ชั้นหรือชั้นครึ่งขึ้นไป ก็อาจจะทำให้ลำบากต่อการออกแบบ 
  2.  คอร์ตยาร์ดของอาคารรูปตัว L เป็นวิธีจัดการทำที่มีระเบียบมากที่สุด ซึ่งมุมมองของลักษณะในรูปตัว L นี้ จะเป็นมุมมองได้ 2 มุมมองคือ ตรงสวนด้านข้างของบ้าน และสวนหน้าบ้าน ซึ่งทั้งสองมุมมองนี้จะมีลักษณะที่คล้ายกัน และสามารถสร้างได้โดยเฉพาะบ้านชั้นเดียว จะทำให้เกิดความสวยงามเป็นอย่างมาก เพราะนอกจากความซับซ้อนของคอร์สหยาบ ที่สามารถทำได้ถึง 4 แห่ง จึงทำให้คุณสามารถจัดแต่งให้สวยงามได้อย่างง่ายดาย สำหรับบ้าน 2 ชั้นหรือชั้นครึ่ง คุณจะสามารถทำคอร์ตยาร์ดได้เพียงแค่ 1 พื้นที่เท่านั้น เพราะเนื่องจากจะไม่มีที่ว่างในการทำแล้ว ก็จับผิดหลักสถาปัตยกรรม 
  3. คอร์ตยาร์ดของอาคารในลักษณะรูปกากบาท  ซึ่งหากมองในมุมมองด้านข้างแล้วจะเห็นว่าเป็นคอร์ตภายนอกที่อยู่ด้านข้างอาคาร แต่หากเมื่อสร้างขึ้นมา จะมีกำแพงหรือสิ่งปลูกสร้างอื่นล้อมรอบ จึงทำให้คอร์ตยาร์ดจะมีลักษณะอยู่ 2 ฝั่งซ้ายและขวา ซึ่งแล้วแต่เจ้าของบ้านจะชื่นชอบว่าให้อยู่ฝั่งไหน หรือหากใครที่ชื่นชอบธรรมชาติหรือหลงใหลเอามากๆ ก็สามารถทำทั้งสองด้านได้เลย 
  4. คอร์ตยาร์ดรูปตัว O เป็นอีกหนึ่งลักษณะที่นิยมกันเป็นอย่างมาก เพราะเนื่องจากบ้านในรูปทรงสี่เหลี่ยม หรือรูปทรงตัวโอ จะเป็นการออกแบบและการจำกัดพื้นที่ที่ง่าย จึงทำให้หลายคนเลือกที่จะสร้างคอร์ตยาร์ดในลักษณะนี้ ซึ่งคุณจะไม่ต้องวิเคราะห์คำนวณพื้นที่เข้าออกภายในบ้าน เพราะเนื่องจากคอร์ตได้อยู่ตรงกลางของบ้าน จึงทำให้สามารถจัดรูปแบบได้อย่างง่ายดาย แต่จะต้องมีระบบระบายน้ำเป็นอย่างดี คอร์ตยาร์ดรูปตัว O จะอยู่ในลักษณะมุมมองปิด จะเห็นเฉพาะพื้นที่ด้านบนนั่นก็คือมุมสูงเท่านั้น 
  5. คอร์ตยาร์ดรูปตัว O มีช่อง เป็นลักษณะคอร์ตที่คล้ายกับ O ธรรมดา แต่มุมมองสามารถมองเห็นได้มากกว่า เพราะจะทำการเปิดช่องทางให้สามารถมองเห็นพื้นที่ดังกล่าวได้ถึง 4 ช่องทาง แต่คุณจะเสียพื้นที่ตัวอาคารไป ซึ่งหากบ้านชั้นเดียวในรูปแบบสี่เหลี่ยม มีพื้นที่มากพอและต้องการโชว์พื้นที่คอร์ต ก็จะสามารถจัดการพื้นที่ส่วนนี้ได้เลย 

 ข้อดีของคอร์ตยาร์ด 

  1. คอร์ตที่มองด้านเดียว เป็นพื้นที่ระหว่างอาคารกับผนังอาคาร จะมีพื้นที่ลักษณะแบบกึ่งกลางแจ้ง การทำคอร์ตยาร์ด ในลักษณะนี้จะหมดปัญหาในเรื่องของพื้นที่เปียกฝน และสามารถประหยัดงบประมาณในเรื่องของการทำระบบระบายน้ำ 
  2. คอร์ตของอาคารรูปตัวแอล (L) เป็นการจัดพื้นที่ที่ได้รับความนิยมอย่างมาก เพราะนอกจากจะสามารถจัดการระบบระบายน้ำได้อย่างง่ายดายแล้ว ยังสามารถมองเห็นมุมมองทั้ง 2 ด้าน ซึ่งจะทำให้คอร์ตยาร์ดมีความโดดเด่น 
  3. คอร์ตของอาคารรูปกากบาท จะสามารถทำคืนที่ได้ทั้งหมด 4 ด้าน ซึ่งคุณสามารถเลือกได้เลยว่าจะต้องการทำคอร์ตยาร์ดในบริเวณใด ซึ่งหากใครจะทำทั้ง 4 ด้านก็สามารถทำได้ ก็จะช่วยให้บ้านของคุณสวยและดูดีอย่างแน่นอน 
  4. คอร์ตของอาคารรูปตัวโอ (O) เป็นการออกแบบที่ได้รับความนิยมมากที่สุด เพราะเป็นพื้นที่ที่มีความท้าทาย ซึ่งถึงแม้ว่าจะเป็นพื้นที่ปิด แต่บอกเลยว่าหากใครทำสำหรับเร็บ คอร์ตยาร์ดรูปตัวโอ จะเป็นการตกแต่งบ้านที่สวยงามมากที่สุด
  5. คอร์ตของอาคารรูปตัวโอมีช่องเปิด ถือเป็นอีกหนึ่งการแก้ไขคอร์ตยาร์ดรูปตัว O ได้สมบูรณ์มากที่สุด เพราะนอกจากคุณจะสามารถมองเห็นมุมมองทั้ง 4 ด้านแล้ว พื้นที่ที่คุณทำการเปิดจะทำการระบายอากาศได้ดีเยี่ยมอีกด้วย ทางเลือกที่จะปลูกต้นไม้ใหญ่ หรือต้นไม้สายพันธุ์ที่ต้องการอากาศถ่ายเทเป็นอย่างดี การทำคอร์ตยาร์ดรูปตัวโอมีช่องเปิดจึงเหมาะสมมากที่สุด 

การเตรียมพื้นที่ในการสร้าง Courtyard

  • ทำบ่อพักน้ำฝังใต้ดิน ซึ่งแน่นอนเลยว่าการทำบ่อพักน้ำฝังใต้ดิน เป็นเรื่องที่สำคัญมากที่จะช่วยให้ระบบระบายน้ำสามารถไหลผ่านได้เป็นอย่างดี แต่ปัญหาตรงนี้มันจะเกิดขึ้นกับบ่อพักน้ำคือ
    • มีเศษใบไม้หรือเศษขยะเข้าไปติดในบ่อพักน้ำ เพราะฉะนั้นจะต้องมีการวางตะแกรงเพื่อป้องกันเศษขยะและใบไม้เข้าไปอุดตัน จากนั้นทำการปูตาข่ายไนลอนให้เกิดความสวยงาม
    • เปิดรูรับน้ำบนฝาท่อประมาณ 1 นิ้ว จะช่วยให้น้ำสามารถไหลผ่านได้ดีและรวดเร็ว
    • ใช้บ่อพักขนาดประมาณ 50 x 50 x 50 เซนติเมตร
    • ใช้ท่อซีเมนต์ในการลำเลียงน้ำออกเส้นผ่านศูนย์กลางขนาด 4 นิ้วขึ้นไป 
  • ทำรางน้ำฝนเพื่อป้องกันน้ำไหลจากหลังคาสู่พื้นมากเกินไป การทำรางรินจึงเป็นอีกหนึ่งช่องทางที่จะช่วยให้ คอร์ตยาร์ด ประสบความสำเร็จ ซึ่งจะสามารถสร้างโดยลักษณะดังนี้
    • ใช้รางรินที่มีความกว้างและความลึกเส้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า 4 นิ้วขึ้นไป 
    • จะต้องมีตะแกรงดักเศษใบไม้หรือเศษขยะปิดไว้ด้านบนหลังริน
    • ทำการต่อปลายท่อดังดินลงพื้นให้เชื่อมโยงกับ บ่อพักน้ำ 
    • ควรใช้รางรินที่สร้างจากอะลูมิเนียมหรือ PVC จะช่วยให้ทนทานต่อการเกิดสนิม
  • ปรุงดินในพื้นที่ตรงกลาง โดยเฉพาะใครที่เลือกพันธุ์ไม้ใหญ่มาใช้ในการตกแต่ง จะต้องมีการเตรียมดินให้พร้อม เพราะเมื่อคุณสร้างอาคารเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะยากมากเมื่อคืนจะทำการขนย้ายดินหรือเข้าไปปรุงดินให้มีความอุดมสมบูรณ์ เพราะฉะนั้นการปรุงดินไว้ตั้งแต่แรก จะช่วยให้คุณสามารถประหยัดเวลา และสามารถปลูกพืชตามที่คุณต้องการ การเลือกพันธุ์ไม้ที่เหมาะสม จึงจะช่วยให้คอร์ตยาร์ดดูดีและไม่เกิดปัญหาตามมา

การออกแบบ Courtyardให้สามารถดูแลได้ง่ายขึ้น

  1.  การตกแต่งให้เน้นการทำพื้นฮาร์ดเคป โดยที่คุณสามารถเสริมเหล็กหรือพื้นปูนหิน พื้นไม้เทียม ก็จะสามารถดูแลง่ายกว่าพื้นที่ที่สร้างมากจากดินและสนามหญ้า เพราะเนื่องจากพืชส่วนใหญ่จะต้องการแสงและความชื้นไม่เท่ากัน หากคุณเลือกใช้หญ้าที่ต้องการแสงมาก อาจจะมีปัญหาในเรื่องของการเจริญเติบโต
  2. เลือกพันธุ์ไม้ใบร่วงน้อยและไม้ทนแล้งได้ดี จะลดปัญหาการสูญเสียต้นไม้ได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้คุณควรเลือกต้นไม้ที่มีลักษณะการเดินของรากให้เหมาะสมกับการปลูกภายในตัวอาคาร เพื่อไม่ให้รากไม้ชอนไชไปยังรากฐานของบ้าน การเลือกพันธุ์ไม้ที่ทำรากหรือมีรากที่ดิ่งลง จะช่วยให้สามารถปลูกต้นไม้เหล่านี้ไว้โชว์ได้อย่างปลอดภัย
  3. ทำการเตรียมพร้อมในพื้นที่ดูแลระบบ โดยเฉพาะใครที่ติดตั้งระบบไฟ ก็ควรที่จะมีพื้นที่ในการจัดการสิ่งเหล่านี้ให้เรียบร้อย นอกจากนี้ระบบระบายน้ำ ก็จะต้องสามารถแก้ปัญหาได้ง่าย ด้วยการทำฝาครอบหรือบริเวณฝาเปิดให้สามารถจัดการปัญหาเกี่ยวกับการอุดตันของท่อ 
  4. จัดการป้องกันน้ำไหลจากหลังคา ซึ่งคุณจะสามารถติดตั้งรางน้ำโดยใส่ท่อน้ำตรงไปที่บ่อพักน้ำ เพื่อป้องกันไม่ให้น้ำที่ไหลจากหลังคาลงสู่พื้นดินบริเวณคอร์ตยาร์ด เพื่อให้ต้นไม้ที่ปลูกรับปริมาณน้ำมากจนเกินไป 

การออกแบบ Courtyard โดยละเอียด ซึ่งแน่นอนเลยว่าสำหรับใครที่กำลังต้องการสร้างสวนภายในบ้าน การเลือกทำคอร์ตยาร์ด จะช่วยให้ฝันของคุณเป็นจริงอย่างแน่นอน แต่คนนั้นก็จะต้องแลกกับความล่าช้า ในการสร้างระบบระบายน้ำและป้องกันน้ำให้ได้ แถมบางระบบอาจจะเป็นปัญหาสำหรับต้นไม้ของคุณเช่น การระบายอากาศ เพราะฉะนั้นการนำเอาแนวคิดของเราไปประยุกต์ใช้ จะช่วยให้คุณสามารถจัดการส่วนได้ประสบความสำเร็จอย่างแน่นอน

ไอเดียสร้างออกแบบคอร์ตยาร์ด


แนะนำ การลงทุน : ทำความรู้จัก ฝากเงินครั้งแรกขั้นต่ำ 50 บาท UFABET ufa369 หรือ ufabet369 ผู้ให้บริการระบบทางการเงิน อันดับ 1 ถ้าสนใจ สมัครบาคาร่า เล่นเกม บาคาร่า99 ที่มีบริการครบครัน sagame66 ช่วยให้ท่านได้กำไรและปลอดภัย sa66 สร้างรายได้ง่ายๆ กับ จีคลับ6666 และ จีคลับ88888 สนใจคลิ๊กเลย

Leave a Comment

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

8 + 6 =

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • เปิดใช้งานตลอด

บันทึกการตั้งค่า